วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

การทำอีบุ๊ค

ทำความรู้จักกับส่วนประกอบจอภาพ
แถบเครื่องมือ (Toolbar)
แถบเครื่องมือหรือ Toolbar ของ Desktop Authot
จะปรากฏที่ด้านบนของจอภาพ
โดยประกอบด้วยปุ่มคำสั่งต่างๆดังนี้
-ปุ่มจัดการแฟ้มเอกสาร e-Bookประกอบด้วย
-ปุ่มสร้าง e-Bookใหม่ (New)
-ปุ่มเปิดแฟ้มเอกสารe-Book(Open)
-ปุ่มบันทึกแฟ้มเอกสาร e-Book (Save)ตามลำดับ
-ปุ่มเตรียมนำเสนอผลงาน หรือPackage ทั้งนี้รายละเอียดจะนำเสนอในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องต่อไป
-ปุ่มเครื่องมือสำหรับสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่างๆนอกจากนี้ยังมีเครื่องมือเพิ่มเติมในชุดนี้
โดยกำหนดให้แสดงหรือไม่แสดงได้ด้วย คำสั่ง View, Toolbar, Display all buttons
แถบเครื่องมือสร้างผลงาน (Tools)การทำงานกับ e-Book
และสื่อต่างๆ สามารถใช้ปุ่มต่างๆ ใน Toolsซึ่งปรากฏเป็นกลุ่มเครื่องมือด้านขวาของจอภาพ
-ปุ่มจัดหน้าเอกสาร
-ปุ่มนำเข้าสื่อ
-ปุ่มปรับแต่งวัตถุ
-ปุ่มปรับเปลี่ยนรูปทรงวัตถุเลือกแม่แบบหน้าเอกสารDesktop Author
เตรียมแม่แบบเอกสารทั้งหน้าปก หน้าเนื้อหาและปกหลังพร้อมใช้ งานหลากหลายรูปแบบและหลากหลายขนาดไว้
-ที่ปุ่ม Template ซึ่งจะมีตัวเลือกดังนี้เมื่อคลิกเลือกแม่แบบที่ต้องการ เช่น Photo_Album_Kids จะมีรายการเลือกย่อยสามารถเลื่อน Scroll Bar เพื่อเลือกดูรูปแบบ และขนาดที่ต้องการ เมื่อได้รูปแบบที่ ต้องการ จึงคลิก
-ปุ่ม Useตัวอย่างเลื่อนมาที่รูปแบบ ดังนี้ แล้วคลิกปุ่ม Use เพื่อเลือกใช้งานจอภาพทำงาน จะปรากฏภาพแม่แบบสำหรับปกหน้โปรแกรมจะแบ่งพื้นที่ทำงานเป็น 2 ส่วน ครึ่งด้านซ้ายวางด้วยกรอบสี่เหลี่ยมสีเขียว(รหัสสี 0, 255, 0) เพื่อทำเป็นพื้นที่โปร่งใส และครึ่งด้านขวาแสดงด้วยรูปภาพที่โปรแกรม ออกแบบให้บันทึกแฟ้มผลงาน

บันทึกแฟ้มผลงาน
การบันทึกแฟ้มผลงานให้เลือกคำสั่ง File, Save… จากนั้นเลือก
ไดร์ฟและโฟลเดอร์ เดียวกับภาพต้นฉบับ (แนะนำให้ใช้โฟลเดอร์เดียวกัน)
โดยส่วนขยายที่ได้ คือ .dml การบันทึกแฟ้มผลงานในครั้งถัดไปโปรแกรม
จะสร้างแฟ้มสำเนา (Backup) ให้ อัตโนมัติ 5 แฟ้ม
แต่ปรับเปลี่ยนได้จากคำสั่งFile, Book Properties, Book Backup Files


พิมพ์ข้อความ
พิมพ์ข้อความในหน้าแรกนี้ จากแม่แบบจะพบกรอบข้อความ
ซึ่งสามารถดับเบิลคลิกเข้าไปแก้ไข หรือพิมพ์ข้อความโดยปรากฏ Text Editor
ดังนี้ลบข้อความเดิม แล้วพิมพ์ข้อความใหม่
โดยมีหลักการพิมพ์ลักษณะเดียวกับWord Processor
และมีปุ่มจัดแต่งอักษร ดังนี้
ทั้งนี้ฟอนต์ที่เลือกได้แนะนำเป็น MS Sans Serif และ Tahoma
และสามารถคัดลอก จาก Word มาวางได้ด้วย
คำสั่ง Copy/Paste เมื่อคลิกปุ่ม OK
จะปรากฏกรอบข้อความดังนี้กรอบข้อความ
สามารถย่อ/ขยายด้วยปุ่ม Handle และย้ายตำแหน่งได้
การแก้ไขข้อความให้ดับเบิลคลิกที่กรอบข้อความ
และใช้ปุ่ม เพื่อลบกรอบข้อความ

แทรกรูปภาพและสื่อมัลติมีเดีย
การแทรกรูปภาพทำได้โดยคลิกปุ่ม Insert Image แล้วเลือกภาพที่ต้องการโดย
สามารถปรับขนาด ย้ายตำแหน่ง และลบภาพด้วยวิธีเดียวกับกรอบข้อความภาพที่นำเข้า
สามารถใช้คำสั่งจากการคลิกปุ่มขวาปรับแต่งได้
เช่น การแก้ไขภาพก็ให้คลิกเลือกคำสั่ง Edit Image
ปรากฏหน้าต่างทำงานสามารถปรับขนาดภาพ (Size)
หรือตัดภาพ (Crop) รวมทั้งเลือกฟอร์แมตภาพนอกจากนี้บางภาพ
สามารถขจัดสีพื้นภาพ (Background Color)
ให้เป็นภาพพื้นโปร่งใสได้ด้วย คำสั่ง Change Transparent โดยเลือกสีที่ต้องการให้โปร่งใส

ทำงานกับหน้า e-Book
ขณะสร้างผลงาน ควรให้สังเกตด้านขวามือของ Status bar ในจุด Pageเพื่อให้ทราบว่า กำลังทำงานที่หน้ากระดาษแผ่นที่เท่าไร จากจำนวนกี่หน้าการเพิ่มหน้า e-Book ทำได้โดยคลิกปุ่มเครื่องมือ หรือใช้คำสั่ง Insert, Page และสามารถใช้ปุ่มเครื่องมือในชุด Page ควบคุมการจัดการหน้า e-Book
• การเลื่อนหน้า e-Book ใช้ปุ่ม Previous, Next และ Goto ตามลำดับ
• การลบหน้า e-Book ใช้ปุ่ม โดยจะลบหน้าที่กำลังทำงาน
• การคัดลอกหน้า e-Book ใช้ปุ่ม
• การย้ายตำแหน่งหน้า e-Book ใช้ปุ่ม
เมื่อเพิ่มหน้ากระดาษใหม่แล้ว ให้คลิกปุ่ม Template เพื่อเลือก
แม่แบบสำหรับเนื้อหา เช่น คลิกที่พื้นที่สีเทา เพื่อยกเลิกการเลือกวัตถุ
จากนั้นนำเข้าภาพ หรือพิมพ์ข้อความและจัด ตำแหน่งตามเหมาะสม
ทำหน้าอื่นๆ ที่เหลือจนครบตามต้องการ จึงสร้างหน้าปกหลัง
ด้วยแม่แบบ บันทึกแฟ้มผลงาน และทดสอบผลงานด้วยปุ่ม

ตกแต่ง e-Book
ตกแต่งด้วยปุ่มและภาพประกอบ Desktop Author เตรียมภาพปุ่มสัญลักษณ์
และเส้นสันหนังสือสำหรับช่วยออกแบบ ตกแต่งโดยคลิกปุ่ม Buttons แล้ว
เลือกหมวดภาพ แล้วเลือกภาพจากหมวด
จัดตำแหน่ง

กรอบกราฟิก
กรอบกราฟิกเป็นเครื่องมือกราฟิกชิ้นเดียวที่ Desktop Author เตรียมให้
หากต้องการ สร้างพื้นสีให้กับกรอบข้อความ หรือเส้นกราฟิก ก็สามารถ
ใช้Box มาประยุกต์ใช้ได้ เมื่อคลิกปุ่ม Insert Box
จะปรากฏชุดสีสำหรับกรอบดังนี้ โดยกรอบกราฟิก
ดังกล่าวสามารถจะตำแหน่งและขนาดได้ตามต้องการกรอบกราฟิก
จะประกอบ ด้วยสืพื้น และสีเส้นขอบ
โดยควบคุมได้จากปุ่มเครื่องมือ โดยเครื่องมือชุดแรก
คือ การกำหนดลักษณะของเส้นขอบและปุ่มเครื่องมือชุดที่สอง
คือลักษณะของสีพื้นกรอบกราฟิกค่ากำหนดของเส้นขอบ ประกอบด้วย
• Border Style ลักษณะของเส้นขอบ
• Border Width ความหนาของเส้นขอบ
• Border Color สีของเส้นขอบ

นำเข้า Flash, Audio, Movie
การนำเข้า Flash Movie, Audio/Sound และ Movie ใน e-Book
สามารถคลิกปุ่มเครื่องมือ Insert Multimedia
คลิกเลือกไฟล์สื่อจากปุ่ม Select Multimedia
โดยเลือกประเภทสื่อเป็น Flash สำหรับ นำเข้า Flash Movie หรือ Common media
สำหรับการนำเข้าเสียง .mid, .mp3, .wav และ Video(.avi, .mpg, .mpeg)
เมื่อคลิกปุ่ม OK จะปรากฏกรอบวางสื่อที่สามารถปรับขนาดและตำแหน่งไ
ด้เช่นกัน เมื่อ DNL Package จะปรากฏผลดังนี้กรณีเลือกสื่อ
ที่เป็นแฟ้มวิดีโอหรือเสียง จะมีตัวเลือกเพิ่มเติม ดังนี้
• Embed file inside book ให้ผังสื่อที่เลือกใช้กับแฟ้มเอกสารหรือไม่ กรณีที่ไม่เลือกรายการนี้ จะต้องมั่นใจว่าได้คัดลอกแฟ้มสื่อไปพร้อมกับแฟ้มเอกสารด้วยทุกครั้ง แต่ถ้าเลือกจะทำให้ขนาดของแฟ้มผลงานโตขึ้น
• Start play automatically ให้สื่อที่เลือกทำงานอัตโนมัติหรือไม่(แนะนำให้เลือกรายการนี้ทุกครั้ง)• Loop ต้องการให้สื่อนำเสนอวนลูปเมื่อนำเสนอจบหรือไม่
• Show control ต้องการแสดงแถบควบคุมสื่อ เช่น ปุ่มปิด ปุ่มนำเสนอ หรือไม่ (แนะนำให้เลือกรายการนี้ทุกครั้ง)

เทคนิคเพิ่มเติม
การนำเข้าแฟ้มเสียง สามารถย่อขนาดของกรอบสื่อให้เล็กจนมอง
ไม่เห็นเพื่อไม่แสดง จอภาพได้ โดยที่เสียงยังคงทำงานได้ตามปกติ

การสร้าง Link
Desktop Author มีคำสั่งจัดการ Link ได้หลากหลายรูปแบบ
ทำให้การ สร้างสรรค์ Interactive e-Book เป็นเรื่องง่าย โดยการ
คลิกเลือกภาพ หรือกรอบกราฟิก หรือข้อความ แล้วใช้ คำสั่ง
Change Link จะปรากฏตัวเลือกดังนี้
Link Type : Page เชื่อมโยงไปยังหน้าอื่นๆ ซึ่งต้องระบุเลขหน้า ในช่อง Link Target
Link Type : Web เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ อีเมล์ หรือแฟ้มเอกสาร
Link Type : DNL File คลิกแล้วเปิดแฟ้มเอกสาร .dnl ที่ระบุ
Link Type : Note ทำงานกับกระดาษบันทึก
Link Type : Highlight สร้างแถบสีให้กับข้อความรายการเลือกที่เหลือ จะเป็นคำสั่งเฉพาะสำหรับการสร้างงานเฉพาะจึงขอแหัวข้อที่เกี่ยวข้อง

ปก e-Book
โดยปกติหนังสือหน้าแรกควรแสดงด้วยปกหน้า และหน้าสุดท้ายคือปกหลัง
แต่ โปรแกรมให้จอภาพแสดงทั้งด้านซ้ายและด้านขวา ดังนั้นการสร้าง
หน้าปกกำหนดให้อีกด้าน เป็นพื้นโปร่งใส (ไม่ต้องพื้นที่ทำงาน) e-Book
ในสภาวะปกติ จะแสดงพื้นที่ทั้งด้านซ้ายและขวาโดยหน้าปกควรแสดงเฉพาะ
ด้านขวาเท่านั้น การกำหนดให้พื้นที่ด้านใดด้านหนึ่งของปก
มีลักษณะโปร่งใสดังกล่าวทำได้โดยสร้าง กรอบกราฟิกรหัสสี 0, 255, 0
เช่นกรณีปกหน้าให้วางกรอบกราฟิกรหัสสี 0, 255, 0 ไว้ด้านขวาจัดตำแหน่งกรอบกราฟิก
ใช้ปุ่มขวา แล้วเลือกคำสั่ง Change Positionกำหนดค่าพิกัด
และขนาดของกรอบกราฟิกได้ จากนั้นกำหนดค่าความโปร่งใสให้กับปกหนังสือด้วยคำสั่ง File, Book Properties, Book Transparencyปรากฏรายการเลือก ดังนี้
คลิกเลือกรายการ Eazy Cover Shape withTransparency
กรณีปกหน้า และ Eazy Back Cover Shape with Transparency
กรณีปกหลัง จากนั้น DNL Package เพื่อทดสอบผ
3. เลือกเมนูคำสั่ง File, New กำหนดขนาด 700 × 440 pixels Resolution
เท่ากับ72 dpi และเลือกสีพื้นให้ตรงกับสีที่กำหนดไว้ตามข้อ 24. ออกแบบผลงานด้วยรูปทรงที่ต้องการ โดยเลือกสีให้ต่างกับสีพื้น5. บันทึกโดยเลือกฟอร์แมตเป็น BMP
ด้วยคำสั่ง File, Save as…การใช้งานภาพที่ออกแบบไว้แล้ว
สามารถนำไปสร้างสรรค์ผลงานได้โดยการนำเข้าภาพเป็นพื้น
หลังของหนังสือ แล้วกำหนดค่า Transparent ให้เหมาะสมควบคุม
MultimediaDesktop Author รองรับการนำเสนอสื่อมัลติมีเดียเกือบ
ทุกฟอร์แมตอีกทั้งยังได้เตรียม ฟังก์ชันควบคุม
การนำเสนอสื่อแบบ Interactive เช่นการสร้างปุ่มควบคุมการเปิดหรือนำเสนอ สื่อ และปิดสื่อได้ตามต้องการโดยมีขั้นตอนดังนี้
1. นำเข้าสื่อ กำหนดรหัสอ้างอิง (ID) และเลือกค่าควบคุมการแสดงผลแบบไม่ แสดงผลทันที ไม่แสดง Control
2. คลิกปุ่มขวาของเมาส์ที่กรอบวัตถุ แล้วเลือกคำสั่ง Change Position กำหนดค่าความกว้าง/ความสูงเท่ากับ 0 เพื่อไม่ให้ปรากฏกรอบแสดงผลในหน้าหนังสือ
3. สร้างปุ่มควบคุม หรือข้อความควบคุม เช่น Play Pause Stop
4. เลือกข้อความแต่ละคำ แล้วคลิกปุ่ม Link เพื่อสร้างคำสั่งควบคุม
5. กรณีนี้เลือกข้อความ Play จึงต้องเลือกคำสั่งเป็น Multimedia_Play และเลือกรหัสสื่อมัลติมีเดียที่ต้องการควบคุมจากรายการ Link Target: (กรณีนี้เลือกเป็นsong001)
6. เลือกข้อความอื่นและสร้างลิงก์ เช่น Pause ให้เลือก Link เป็นMultimedia_Pause ข้อความ Stop เลือกเป็น Multimedia_Stop
7. ทดสอบการนำเสนอด้วย DNL Packages Method เป็นการเลือกรูปแบบของการส่งข้อมูลไปประมวลผล Email : เป็นการส่งข้อมูลไปยังe-Mail ที่กำหนด Get/Post : เป็นการส่งข้อมูลไปยังระบบเว็บโปรแกรมมิ่งต้องเขียน โปรแกรมควบคุม

การจราจรที่ควรทราบ


การจราจร

กฎหมายเกี่ยวขวาท่อนล่างตั้งฉากกับแขนท่อนบนและตั้งฝ่ามือขึ้น ส่วนแขนซ้ายเหยียดออกไปเสมอระดับไหล่ ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถมาทางด้านหน้าและด้านหลังของพนักงานเจ้าหน้าที่ต้องหยุดรถ การหยุดรถให้หยุดหลังเส้นให้หยุด ในกรณีที่ทางเดินรถใดไม่มีเส้นให้หยุด ให้ผู้ขับขี่หยุดรถห่างจากพนักงานเจ้าหน้าที่ในระยะไม่น้อยกว่า 3 เมตร
3. ผู้ขับขี่รถต้องปฏิบัติตามสัญญาณจราจรที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้แสดงด้วยเสียงสัญญาณนกหวีดในกรณีต่อไปนี้
3.1 เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ใช้เสียงสัญญาณนกหวีดยาวหนึ่งครั้ง ให้ผู้ขับขี่หยุดรถทันที
3.2 เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ใช้เสียงสัญญาณนกหวีดสั้นสองครั้งติดต่อกัน ให้ผู้ขับขี่ขับรถผ่านไปได้
4. การปฏิบัติตามกฎจราจรของผู้ขับขี่รถจักรยาน
นักเรียนที่อยู่ต่างจังหวัดบางคนจะขับขี่รถจักรยานไปโรงเรียน หรือผู้ที่อยู่ในกรุงเทพฯบางคนก็ขับขี่รถจักรยานในระยะทางใกล้ๆ ฉะนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องรู้


ข้อปฏิบัติของผู้ขับขี่รถจักรยานดังนี้
1. ทางใดที่ได้จัดทำไว้สำหรับรถจักรยาน ผู้ขับขี่รถจักรยานต้องขับขี่ในทางนั้น
2. รถจักรยานที่ใช้ในทางเดินรถ ไหล่ทาง หรือทางที่จัดไว้สำหรับรถจักรยาน ผู้ขับขี่รถจักรยานต้องจัดให้มี
1) กระดั่งที่ให้สัญญาณได้ยินได้ในระยะไม่น้อยกว่า 30 เมตร
2) เครื่องห้ามล้อที่ใช้การได้ดี เมื่อใช้สามารถทำให้รถจักรยานหยุดได้ทันที
3) โคมไฟติดหน้ารถจักรยานแสงขาวไม่น้อยกว่า 1 ดวง ที่ให้แสงไฟส่องตรงไปข้างหน้า เห็นพื้นทางได้ชัดเจนในระยะไม่น้อยกว่า 15 เมตร และอยู่ในระดับต่ำกว่าสายตาของผู้ขับขี่ซึ่งขับรถสวนมา
4) โคมไฟติดหน้ารถจักรยานแสงแดงไม่น้อยกว่า 1 ดวง ที่ให้แสงไฟส่องตรงไปข้างหลังหรือวัตถุสะท้อนแสงสีแดงแทน ซึ่งเมื่อถูกไฟส่องให้มีแสงสะท้อน
3. ผู้ขับขี่รถจักรยานต้องขับให้ชิดขอบทางด้านซ้ายของทางเดินรถ ไหล่ทางหรือทางที่จัดทำให้สำหรับรถจักรยานให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ แต่ในกรณีที่มีช่องเดินรถประจำทางด้านซ้ายสุดของทางเดินรถ ต้องขับขี่จักรยานให้ชิดช่องเดินรถประจำทางนั้น
4. ในทางเดินรถ ไหล่ทาง หรือทางที่จัดทำไว้สำหรับรถจักรยาน ห้ามผู้ขับขี่รถจักรยานปฏิบัติดังนี้
1) ขับรถโดยประมาทหรือน่าหวาดเสียวอันอาจจะเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน
2) ขับรถโดยไม่จับคันบังคับรถ
3) ขับขนานกันเกินสอง เว้นแต่ขับในทางที่จัดไว้สำหรับรถจักรยาน
4) ขับโดยนั่งบนที่อื่นอันมิใช่ที่นั่งที่จัดไว้เป็นที่นั่งตามปกติ
5) ขับโดยบรรทุกบุคคลอื่น เว้นแต่รถจักรยานสามล้อมสำหรับบรรทุกคน ทั้งนี้ตามเงื่อนไขที่เจ้าพนักงานจราจรกำหนด
6) บรรทุกหรือถือสิ่งของ หีบห่อ หรือของใดๆในลักษณะที่เป็นการกีดขวางการจับคันบังคับรถหรืออันอาจจะเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน
7) เกาะหรือพ่วงรถอื่นที่กำลังแล่นอยู่

3. การปฏิบัติตามกฎจราจรของคนเดินเท้า
คนไทยทุกคนต้องรู้การปฏิบัติตนตามกฎจราจรของคนเดินเท้า คงไม่มีใครปฏิเสธว่าไม่เคยเดินข้ามถนนหรือไม่เคยเดินบนถนน โดยเฉพาะนักเรียนจะต้องเดินทางไปโรงเรียนทุกวัน จะต้องรู้ข้อปฏิบัติตามกฎจราจรของคนเดินเท้าดังนี้
1. ทางใดที่มีทางเท้าหรือไหล่ทางอยู่ข้างทางเดินรถให้คนเดินเท้าเดินบนทางเท้าหรือไหล่ทาง ถ้าทางนั้นไม่มีทางเท้าอยู่ข้างทางเดินรถให้เดินริมทางด้านขวาของตน
2. ภายในระยะไม่เกิน 100 เมตรนับจากทางข้าม ห้ามคนเดินเท้าข้ามนอกทางข้าม
3. คนเดินเท้าซึ่งประสงค์จะข้ามทางเดินรถในทางข้ามที่มีไฟสัญญาณจราจรควบคุมคนเดินเท้า ให้ปฏิบัติตามไฟสัญญาณจราจรที่ปรากฏต่อหน้า ดังต่อไปนี้
1) เมื่อมีสัญญาณจราจรไฟสีแดง ไม่ว่าจะมีรูปหรือข้อความเป็นการห้ามมิให้คนเดินเท้าข้ามทางเดินรถด้วยหรือไม่ก็ตาม ให้คนเดินเท้าหยุดรออยู่บนทางเท้าบนเกาะแบ่งทางเดินรถหรือในเขตปลอดภัย เว้นแต่ทางใดที่ไม่มีทางเท้าให้หยุดรอบนไหล่ทางหรือขอบทาง
2) เมื่อมีสัญญาณจราจรไฟสีเขียว ไม่ว่าจะมีรูปหรือข้อความเป็นการอนุญาตให้คนเดินเท้าข้าทางเดินรถด้วยหรือไม่ก็ตาม ให้คนเดินเท้าข้ามทางเดินรถได้
3) เมื่อมีสัญญาณจราจรไฟสีเขียวกะพริบทางด้านใดของทาง ให้คนเดินเท้าที่ยังไม่ได้ข้าทางเดินรถหยุดรอบนทางเท้า บนเกาะแบ่งทางเดินรถหรือในเขตปลอดภัย แต่ถ้ากำลังข้ามทางเดินรถ ให้ข้าทางเดินรถโดยเร็ว
4. คนเดินเท้าซึ่งประสงค์จะข้ามทางเดินรถในทางข้าม หรือทางร่วมทางแยกที่มีสัญญาณจราจรควบคุมการใช้ทาง ให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้
1) เมื่อมีสัญญาณจราจรไฟสีแดงให้รถหยุดทางด้านของทาง ให้คนเดินเท้าข้ามทางเดินรถตามที่รถหยุดนั้น และต้องข้ามทางเดินรถภายในทางข้าม
2) เมื่อมีสัญญาณจราจรไฟสีเขียวให้รถผ่านทางด้านใดของทาง ห้ามคนเดินเท้าข้ามทางเดินรถด้านนั้น
3) เมื่อมีสัญญาณจราจรไฟสีเหลืองอำพันกะพริบทางด้านใดของทางให้คนเดินเท้าที่ยังไม่ได้ข้ามทางเดินรถ หยุดรอบนทางเท้าบนเกาะแบ่งทางเดินรถหรือในเขตปลอดภัย แต่ถ้ากำลังข้ามทางเดินรถอยู่ในทางข้ามให้ข้ามทางเดินรถโดยเร็ว
5. ห้ามมิให้ผู้ใดเดินแถว เดินเป็นขบวนแห่ หรือเดินเป็นขบวนใดๆ ในลักษณะที่เป็นการกีดขวางการจราจร เว้นแต่
1) เป็นแถวทหารหรือตำรวจที่มีผู้ควบคุมตามระเบียบแบบแผน
2) แถวหรือขบวนแห่ หรือขบวนใดๆ ที่เจ้าพนักงานจราจรได้อนุญาตและปฏิบัติตามเงื่อนไขที่เจ้าพนักงานจรากำหนด

4. ประโยชน์ของการปฏิบัติตามกฎจราจร


1. ทำให้การจราจรบนท้องถนนไม่ติดขัด เมื่อทุกคนปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัดในการขับขี่ยานพาหนะแต่ละคนก็ขับขี่ไปตามเส้นทางของตน ตามกันข้าม ถ้ามีบางคนไม่ปฏิบัติตามกฎจราจรก็อาจจะทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดได้
2. การปฏิบัติตามกฎจราจรจะเป็นการปัองกันอุบัติเหตุที่จะน่ามาซึ่งความสูญเสียในชีวิตร่างกาย ทรัพย์สินของประชาชนและประเทศชาติในปัจจุบันนี้ยังมีผู้ฝ่าฝืนกฎหมายจราจรอยู่เสมอ จะเห็นได้จากข่าวอุบัติเหตุตามท้องถนนสายต่างๆ ทั้งในกรุงเทพฯและต่างจังหวัด นักเรียนเป็นผู้หนึ่งจะมีส่วนช่วยรณรงค์ให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายจราจร

เครื่องหมายจราจรประเภทเตือน


ต1 ทางโค้งซ้าย
ต2 ทางโค้งขวา
ต3 ทางโค้งรัศมีแคบเลี้ยวซ้าย
ต4 ทางโค้งรัศมีแคบเลี้ยวขวา
ต5 ทางโค้งกลับเริ่มซ้าย
ต6 ทางโค้งกลับเริ่มขวา
ต7 ทางโค้งกลับรัศมีแคบเริ่มซ้าย
ต8 ทางโค้งกลับรัศมีแคบเริมขวา
ต9 ทางคดเคี้ยวเริ่มซ้าย
ต10 ทางคดเคี้ยวเริ่มขวา
ต11 ทางโทตัดทางเอก
ต12 ทางโทแยกทางเอกทางซ้าย
ต13 ทางโทแยกทางเอกทางขวา
ต14 ทางโทแยกทางเอกเยื้องกันเริ่มซ้าย
ต15 ทางโทแยกทางเอกเยื้องกันเริ่มขวา
ต16 ทางโทเชื่อมทางเอกจากซ้าย
ต17 ทางโทเชื่อมทางเอกจากขวา
ต18 ทางโทแยกทางเอกทางซ้ายรูปตัววาย
ต19 ทางโทแยกทางเอกทางขวารูปตัววาย
ต20 ทางข้ามทางรถไฟไม่มีเครื่องกั้นทาง
ต21 ทางข้ามทางรถไฟมีเครื่องกั้นทาง
ต22 สัญญาณจราจร
ต23 ทางแคบลงทั้งสองด้าน
ต24 ทางแคบด้านซ้าย
ต25 ทางแคบด้านขวา
ต26 ทางคู่ข้าหน้า
ต27 สิ้นสุดทางคู่
ต28 ช่องทางจราจรปิด
ต29 วงเวียนข้างหน้า
ต30 สะพานแคบ
ต31 ทางแคบ
ต32 ทางลอดต่ำ
ต33 ทางขึ้นลาดชัน
ต34 ทางลงลาดชัน
ต35 เตือนรถกระโดด
ต36 ผิวทางขรุขระ
ต37 ทางเป็นแด่ง
ต38 ทางลื่น
ต39 ผิวทางร่วน
ต40 สะพานเปิดได้
ต41 สะพานเปิดได้
ต42 ทางกำลังซ่อม
ต43 ระวังคนข้ามถนน
ต44 โรงเรียนระงังเด็ก
ต45 ระวังเครื่องบินบินต่ำ
ต46 ระวังทางข้ามทางวิ่งของเครื่องบิน
ต47 ระวังสัตว์
ต48 ระวังอันตราย
ต49 สายไฟแรงสูงพาดต่ำ
ต50 เตือนทางโค้ง
ต51 ทางเดินรถสองทาง
ต52 ทางเดินรถสองทางตัดผ่าน
ต53 ให้เปลี่ยนช่องทางจราจร


พ.ร.บ.จราจรทางบก รู้ไว้ ทันกฏหมาย
ข้อหา ฐานความผิด บทมาตรา และอัตราโทษ ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 (แก้ไขเพิ่มเติมถึง พ.ศ.2538) ลำดับ ข้อหา หรือ ฐานความผิดอัตราโทษ อัตราตามข้อ กำหนด

1 นำรถที่ไม่มั่นคงแข็งแรงอาจเกิดอันตรายหรือทำให้เสื่อมเสีย สุขภาพอนามัย มาใช้ในทางเดินรถ ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
2 นำรถที่ไม่ติดแผ่นป้ายทะเบียนมาใช้ในทางเดินรถ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท
3 นำรถที่เครื่องยนต์ก่อให้เกิดก๊าซ ฝุ่นควัน ละอองเคมี เกินเกณฑ์ที่อธิบดีกำหนดมาใช้ในทางเดินรถ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 500 บาท
4 นำรถที่เครื่องยนต์ก่อให้เกิดเสียงเกินเกณฑ์ที่อธิบดีกำหนดมาใช้ ในทางเดินรถ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 500 บาท
5 ขับรถในทางไม่เปิดไฟ หรือใช้แสงสว่างในเวลาที่มีแสง สว่างไม่เพียงพอที่จะมองเห็นคน รถ หรือสิ่งกีดขวาง ในทางได้โดยชัดแจ้งภายในระยะ 150 เมตร ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 200 บาท
6 ใช้สัญญาณไฟวับวาบผิดเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 300 บาท
7 ขับรถบรรทุกของยื่นเกินความยาวของตัวรถในทางเดิน รถไม่ติดธงสีแดง ไว้ตอนปลายสุดให้มองเห็นได้ภายในระยะ 150 เมตร ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท
8 ขับรถบรรทุกวัตถุระเบิด หรือ วัตถุอันตรายไม่จัดให้มีป้ายแสดงถึงวัตถุ ที่บรรทุก จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 2,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ปรับ 300 บาท
9 ขับรถไม่จัดให้มีสิ่งป้องกันมิให้คน สัตว์ หรือสิ่งของที่บรรทุก ตกหล่น รั่วไหล ส่งกลิ่น ส่องแสงสะท้อน หรือปลิวไปจาก รถอันอาจก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญ ทำให้ทางสกปรกเปรอะเปื้อน ทำให้เสื่อมเสียสุขภาพ อนามัยแก่ประชาชนหรือก่อให้เกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
10 ขับรถไม่ปฏิบัติตามสัญญาณจราจร หรือเครื่องหมายจราจรที่ได้ติดตั้งไว้หรือทำให้ปรากฏ ในทาง หรือที่พนักงานเจ้าหน้าที่แสดงให้ทราบ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท
11 ขับรถฝ่าฝืนสัญญาณไฟแดง ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท
12 ไม่หยุดรถหลังเส้น ให้รถหยุดเมื่อมีสัญญาณไฟแดง ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท
13 ขับรถไม่ปฏิบัติตามสัญญาณจราจรที่พนักงานเจ้าหน้าที่แสดงให้ปรากฏด้วยมือ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท
14 ไม่หยุดรถหลังเส้นให้รถหยุด หรือหยุดรถห่างจากพนักงานเจ้าหน้าที่น้อยกว่าสามเมตร ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท
15 ทำให้ปรากฏซึ่งสัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจรที่อธิบดีกำหนดในทางเดินรถโดยไม่มีอำนาจ จำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 2,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ -
16 ไม่ขับรถที่มีความเร็วช้าให้ใกล้ขอบทางด้านซ้ายในทางเดินรถที่มีสวนกันได้ ปรับตั้งแต่ 200-500บาท ปรับ 200 บาท
17 ไม่ขับรถบรรทุก รถบรรทุกคนโดยสารรถจักรยานยนต์ที่มีความเร็วช้าในช่องเดินรถซ้ายสุด ในทางเดินรถที่แบ่งช่องเดินรถไว้ตั้งแต่สองช่องขึ้นไป ปรับตั้งแต่ 400-1,000บาท -
18 เลี้ยวรถหรือเปลี่ยนช่องเดินรถโดยไม่ให้สัญญาณ ปรับตั้งแต่ 400-1,000บาท ปรับ 400 บาท
19 ขับรถในขณะเมาสุราหรือของเมาอย่างอื่น ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
20 ขับรถในลักษณะกีดขวางการจราจร จำคุกไม่เกิน 3 เดือนหรือปรับตั้งแต่ 2,000 –10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ -
21 ขับรถในลักษณะกีดขวางการจราจร ปรับตั้งแต่ 400 –1,000 บาท ปรับ 400 บาท
22 ขับรถบนทางเท้าโดยไม่มีเหตุอันสมควร (เว้นแต่รถเข็นสำหรับทารก คนป่วย หรือคนพิการ) ปรับตั้งแต่ 400- 1,000 บาท ปรับ 400 บาท
23 ขับรถแซงขึ้นหน้ารถอื่นทางด้านซ้ายมือโดยไม่มีเหตุอันสมควร ปรับตั้งแต่ 400- 1,000 บาท ปรับ 400 บาท
24 ขับรถแซงขึ้นหน้ารถอื่นขณะขึ้นทางชัน ขึ้นสะพาน หรืออยู่ในทางโค้ง ซึ่งไม่มีเครื่องหมายจราจรให้แซงได้ ปรับตั้งแต่ 400- 1,000 บาท ปรับ 400 บาท
25 ขับรถแซงขึ้นหน้ารถอื่นภายในระยะ 30 เมตร ก่อนถึงทางแยก ปรับตั้งแต่ 400- 1,000 บาท ปรับ 400 บาท
26ขับรถออกจากที่จอดเมื่อมีรถจอดหรือสิ่งกีดขวางอยู่ข้างหน้าโดยไม่ให้สัญญาณมือหรือแขน หรือสัญญาณไฟ ปรับไม่เกิน1,000 บาท ปรับ 400 บาท
27 กลับรถในทางเดินรถกีดขวางการจราจร ปรับตั้งแต่ 200-500 บาท ปรับ 200 บาท
28 กลับรถในระยะ 100 เมตร จากเชิงสะพาน ปรับตั้งแต่ 400-1,000 บาท ปรับ 400 บาท
29 กลับรถที่ทางร่วมทางแยก(เว้นแต่จะมีเครื่องหมายจราจรให้กลับรถได้) ปรับตั้งแต่ 400- 1,000 บาท ปรับ 400 บาท
30หยุดรถหรือจอดรถในลักษณะที่เป็นการกีดขวางการจราจรที่อธิบดีกำหนดในทางเดินรถโดยไม่มีอำนาจ ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
31 ไม่จอดรถทางด้านซ้ายของทางเดินรถ ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
32 จอดรถไม่ขนานชิดกับขอบทางหรือไหล่ทางในระยะห่างเกินกว่า 25 ซม. ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
33 หยุดรถบนทางเท้าโดยไม่มีเหตุผลสมควร ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
34หยุดรถตรงปากทางเข้าออกของอาคาร หรือทางเดินรถโดยไม่มีเหตุผลสมควร ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
35 จอดรถบนทางเท้า ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
36 จอดรถบนสะพานหรือในอุโมงค์ ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
37 จอดรถในทางร่วมทางแยก หรือภายในระยะ 10 เมตรจากทางร่วมทางแยก ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
38 จอดรถในเขตที่มีเครื่องหมายห้ามจอด ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
39 จอดรถภายในระยะ 15 เมตร ก่อนถึงเครื่องหมายหยุดรถประจำทางและเลยเครื่องหมายไปอีก 3 เมตร ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
40 จอดรถในลักษณะกีดขวางการจราจร ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
41 ทำให้เสียหาย ทำลาย ทำให้เสื่อมค่า หรือทำให้ไร้ประโยชน์ซึ่งเครื่องมือบังคับ รถ มิให้เคลื่อนย้าย จำคุกไม่เกิน 3 เดือนหรือ ปรับไม่เกิน 5,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ -
42 จอดรถในทางเดินรถหรือไหล่ทางโดยไม่เปิดไฟ หรือใช้แสงสว่างเพียงพอ ที่จะเห็นรถที่จอดนั้นได้ชัดแจ้งในระยะไม่น้อยกว่า 150 เมตร ปรับตั้งแต่ 200 - 500บาท ปรับ 200 บาท
43ขับรถเร็วเกินอัตรากำหนด ปรับตั้งแต่ 200 - 500 บาท ปรับ 400 บาท
44 ไม่ยอมให้รถในทางร่วมทางแยกนั้นผ่านไปก่อน เมื่อขับรถถึงทางร่วมทาง แยกทีหลัง ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
45 ขับรถในทางก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคล หรือทรัพย์สินของผู้อื่น แล้วไม่หยุดช่วยเหลือแสดงตัวและแจ้งเหตุต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ใกล้ เคียง ทันที จำคุกไม่เกิน 3 เดือนหรือปรับตั้งแต่ 2,000 –10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ -
46 ขับรถแท็กซี่ปฏิเสธไม่รับจ้างบรรทุกคนโดยสาร (เว้นแต่ กรณีจะเกิดอันตรายแก่ตนหรือแก่คนโดยสาร) ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท
47 ไม่เดินบนทางเท้าหรือไหล่ทางเมื่อทางนั้น มีทางเท้าหรือไหล่ทางอยู่ข้างทางเดินรถ ปรับไม่เกิน 200 บาท ปรับ 100 บาท
48เดินข้ามทางนอกทางข้าม เมื่อมีทางข้ามอยู่ภายในระยะ100 เมตร ปรับไม่เกิน 200 บาท ปรับ 100 บาท
49 ขี่ จูงไล่ต้อนหรือปล่อยสัตว์ไปบนทาง ในลักษณะที่เป็นการกีดขวางการจราจร และไม่มีผู้ควบคุมเพียงพอ ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
50 วาง ตั้ง ยื่น หรือ แขวนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือกระทำด้วยประการใด ๆ ในลักษณะที่เป็นการกีดขวางการจราจร โดยไม่ได้รับอนุญาต ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
51 ขับขี่รถจักรยานยนต์ไม่สวมหมวกนิรภัย (มิให้ใช้บังคับแก่ภิกษุสามเณร นักพรต นักบวช ผู้นับถือลัทธิศาสนาที่ใช้ผ้าโพกศรีษะตามประเพณีนิยม ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
52 โดยสารรถจักรยานยนต์ไม่สวมหมวกนิรภัย (มิให้ใช้บังคับแก่ภิกษุสามเณร นักพรต นักบวช ผู้นับถือลัทธิศาสนาที่ใช้ผ้าโพกศรีษะตามประเพณีนิยม ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
53 ยินยอมให้ผู้อื่นนั่งตอนหน้าแถวเดียวกับคนขับเกิน 2 คน ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
54 เป็นผู้ขับรถโดยสารประจำทาง รถบรรทุกคนโดยสารรถโรงเรียน รถแท็กซี่ ยินยอมให้ผู้โดยสารขึ้นหรือลง รถยนต์ในขณะที่รถหยุดเพื่อรอสัญญาณไฟ หรือหยุดเพราะติดการจราจร ปรับไม่เกิน 500 บาท ปรับ 200 บาท
55ขับรถตามหลังรถฉุกเฉินซึ่งกำลังปฏิบัติหน้าที่ในระยะไม่ถึง50 เมตร ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท
56 กระทำด้วยประการใด ๆ บนทางอันเป็นการกีดขวางของการจราจร ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท
57 ฝ่าฝืนคำสั่งข้อบังคับหรือระเบียบของเจ้าพนักงานจราจรซึ่งสั่งหรือ ประกาศ ห้าม หยุดหรือ จอด ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท

วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

Recommended.™

Ms. Sirintra thomwan
Nickname : Pui
M 6 / 3 No. 21.
MuangKrabiSchool.
Telephone number : 085-8850211